
ซีพียู (CPU)• ซีพียู (CPU : Central Processing Unit) หรือหน่วยประมวลผลกลาง เป็นส่วนประกอบหลัก ซึ่งทำหน้าที่ คิด คำนวณ และประมวลผลข้อมูลต่างๆ ทั้งการคำนวณตัวเลขทางด้านคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operation) บวก ลบ คูณ หาร หรือการคำนวณเชิงเปรียบเทียบข้อมูลทางด้านตรรกศาสตร์ (Logical Operation) มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ เมื่อคอมพิวเตอร์มีการรับข้อมูลใดๆ เข้ามาจัดเก็บ หรือพักไว้ในหน่วยความจำแล้วก็จะถูกส่งต่อให้ซีพียูประมวลผลก่อนเสมอความเร็วของซีพียูØ ตารางเรียกหน่วยวัด (คูณ) Ø Kilo K x1 milli Ø Mega M x1,000,000 micro Ø Giga G x1,000,000,000 Ø Tera T x1,000,000,000,000Ø ตารางเรียกหน่วยวัด (หาร)Ø m 1/1000Ø µ 1/1000,000Ø nano n 1/1000,000,000Ø pico p 1/1,000,000,000,000ความเร็ว Front Side Bus (FSB)• ความเร็วของสัญญาณนาฬิกาที่ให้จังหวะในการทำงานแต่ FSB หากแต่เป็นความเร็วสุทธิ (effective bus speed) ที่เป็นผลมาจากการรับส่งข้อมูลมากกว่า 1 ครั้ง• ในขณะที่ซีพียูของ Intel จะใช้ความเร็ว FSB ประกอบกับเทคนิคที่เรียกว่า Quad-Pumped เพื่อช่วยให้สามารถรับส่งข้อมูลได้มากถึง 4 ครั้งในแต่ละลูกคลื่น• ซีพียูของ AMD จะใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลความเร็วสูงแบบ Hyper Transport ควบคู่ไปกับการทำงานของส่วนควบคุมหน่วยความจำ (Integrated Memory Controller) ภายในซีพียู เข้ามาทำงานแทน FSB พร้อมๆ ไปกับการใช้เทคนิคที่เรียกว่า Double Data Rate (DDR)• ปัจจุบันความเร็ว FSB จะอยู่ที่ 133 ถึง 400 MHz ขึ้นกับซีพียูและชิปเซ็ตที่ใช้ แต่บางครั้งอาจมีการบอกเป็นความเร็ว FSB ที่สูงกว่านี้ เช่น 667, 800, 1066, 1333 และ 1600 MHzระบบบัส HyperTransport มาตรฐาน 1.x, 2.0, 3.0 และ 3.1o · HyperTransport 1.x (1.0x และ 1.1) เป็นมาตรฐานในยุคแรก ซึ่งสนับสนุนความเร็วสูงสุดที่ 800 MHz (ความเร็วสุทธิ 1600 MHz DDR)o · HyperTransport 2.0 เป็นมาตรฐานในยุคต่อมา ซึ่งสนับสนุนความเร็วที่ 1.0, 1.2 และ 1.4 GHz ที่ความเร็วสูงสุด 1.4 GHz (ความเร็วสุทธิ 2.8 GHz DDR) o · HyperTransport 3.1 เป็นมาตรฐานล่าสุด ซึ่งสนับสนุนความเร็วที่ 2.8, 3.0, และ 3.2 GHz ที่ความเร็วสูงสุด 3.2 GHz (ความเร็วสุทธิ 6.4 GHz DDR) o · HyperTransport 3.0 เป็นมาตรฐานที่ใช้กันแพร่หลายในซีพียู AMD ซึ่งสนับสนุนความเร็วที่ 1.8, 2.0, 2.4 และ 2.6 GHz ที่ความเร็วสูงสุด 2.6 GHz (ความเร็วสุทธิ 5.2 GHz DDR)หน่วยความจำแคช (Cache Memory)l หน่วยความจำแคช (Cache Memory) จะทำหน้าที่เสมือนเป็นกระดาษช่วยจำคอยจดบันทึกข้อมูลหรือคำสั่งต่างๆ ที่ซีพียูมักมีการเรียกใช้งานซ้ำๆ บ่อยๆ ไว้ชั่วคราว เพื่อช่วยลดภาระในการติดต่อหรือเข้าถึงข้อมูลภายในแรม (RAM)l · L1 Cache ตำแหน่งจะอยู่ชิดติดกับหน่วยประมวลผลภายในซีพียู และมีความเร็วในการทำงานเทียบเท่าซีพียู มีขนาดตั้งแต่ 8 KB ไปจนถึง 128 KB l · L2 Cache ตำแหน่งจะอยู่ถัดออกมาจาก L1 ใช้เก็บข้อมูลรองจาก L1 โดยถ้าซีพียูเรียกหาl มีขนาดความจุที่ใหญ่กว่า คือ ขนาดตั้งแต่ 64 KB ไปจนถึง 8 MB เลยทีเดียวซีพียู Pentium Extreme Editionu เป็น Dual-Core ภายใต้แบรนด์ Pentium ในตระกูล Extreme Edition ที่ถูกออกแบบมาสำหรับคอมพิวเตอร์ระดับ Hi-End สมรรถนะสูง เหมาะกับการสร้างสรรค์สื่อบันเทิงต่างๆอย่างเต็มรูปแบบ ทั้งการประมวลผลภาพวิดีโอ และระบบเสียงแบบ High Definition ทั้งงานด้านออกแบบและเกมส์ต่างๆ โดยเป็นผมมาจากการทำงานร่วมกันระหว่างสถาปัตยกรรมแบบ Dual-Core กับเทคโนโลยี Hyper-Threading ที่ช่วยให้สามารถประมวลผลได้ถึงคราวละ 4 Threads ในเวลาเดียวกันซีพียู Core 2n Core 2 Duo (Allendale-65 nm)เป็น Dual-Core สำหรับ Core 2 บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number E4xxx ความเร็วสูงสุด 2.6 GHzn Core 2 Duo (Conroe-65 nm)เป็น Dual-Core สำหรับ Core ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number E6xxx ความเร็วสูงสุด 3.0 GHzn Core 2 Duo (Wolfdale 3M-45 nm)เป็น Dual-Core (Wolfdale 45 nm) ที่ได้ปรับลดขนาด L2 Cache ลงเหลือเพียง 3 MB (แต่ละคอร์ใช้งานร่วมกัน) ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 45 nm ใช้รหัส Processor Number E7xxx ความเร็วสูงสุด 2.8 GHzCore 2 Duo (Wolfdale 45 nm)เป็น Dual-Core ที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 45 nm ใช้รหัส Processor Number E8xxx ความเร็วสูงสุด 3.3 GHz ในรุ่น E8600ใช้ FSB 1333 MHz มี L2 Cache ขนาด 6 MB (แต่ละคอร์ใช้งานร่วมกัน)Core 2 Extreme (Dual-Core)เป็น Core 2 Extreme บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number X6xxx ความเร็ว 2.93 GHzCore 2 Quad (Kentsfield -65 nm)เป็น Core - Quad (ภายในเสมือนมีซีพียู Core 2 Duoรหัส Conroe อยู่ 2 ตัว รวมเป็น 4 คอร์)ในตระกูล Core 2 บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number Q6xxx ความเร็ว 2.66 GHzCore 2 Duo (Wolfdale 45 nm)เป็น Dual-Core ที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 45 nm ใช้รหัส Processor Number E8xxx ความเร็วสูงสุด 3.3 GHz ในรุ่น E8600ใช้ FSB 1333 MHz มี L2 Cache ขนาด 6 MB (แต่ละคอร์ใช้งานร่วมกัน)Core 2 Extreme (Dual-Core)เป็น Core 2 Extreme บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number X6xxx ความเร็ว 2.93 GHzCore 2 Quad (Kentsfield -65 nm)เป็น Core - Quad (ภายในเสมือนมีซีพียู Core 2 Duoรหัส Conroe อยู่ 2 ตัว รวมเป็น 4 คอร์)ในตระกูล Core 2 บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number Q6xxx ความเร็ว 2.66 GHzบรรจุภัณฑ์ (Packaging) และฐานรอง (Socket)u แบบ BGA (Ball Grid Array)บรรจุภัณฑ์แบบมีจะมีลักษณะเป็นแผ่นแบนๆที่ด้านหนึ่งจะมีวัสดุทรงกลมนำไฟฟ้าขนาดเล็กเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบทำหน้าที่เป็นขาของชิปu แบบตลับ (Cartridge)บรรจุภัณฑ์แบบนี้เรียกกันโดยทั่วไปว่า SECC (Single Edge Connector Cartridge) มักถูกนำไปใช้กับซีพียูรุ่นเก่า โดยใช้เสียบลงบนสล็อตบนเมนบอร์ดu แบบPGA (Pin Grid Array) บรรจุภัณฑ์แบบนี้เป็นที่นิยมใช้กันมานานแล้ว และได้ถูกแบ่งออกเป็นชนิดต่างๆมากมาย เช่น PPGA OmPGAและ FC-PGAu แบบ LGA (Land Grid Array)เป็นบรรจุภัณฑ์ล่าสุดที่ Intel นำมาใช้กับซีพียูใหม่ๆทุกรุ่นรวมถึงรุ่นใหญ่ของ AMD อย่าง Athlon 64 Quad FX, Phenom FX และ Opteronเทคโนโลยี High-K ในกระบวนการผลิตซีพียูในกระบวนการผลิต 45nm ของซีพียู Intel เป็นการปฏิวัติโครงสร้างภายในสารกึ่งตัวนำที่ใช้ทำทรานซิสเตอร์เสียใหม่ จากเดิมที่ใช้ Polysilicon Gate (NMOS + PMOS) มาเป็น Metal Gate และเปลี่ยน Dielectrics Gate มาเป็น High-K Gate Oxide ที่ใช้ Hafnium เป็นวัสดุ ซึ่งมีค่าคงไดอิเล็กตริกสัมพัทธ์ที่สูง ช่วยให้สามารถลดการรั่วไหลของอิเล็กตรอนได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังช่วยลดการใช้พลังงานลงได้มากซีพียู Intelอินเทล (Intel Corporation) เป็นบริษัทผู้ผลิตซีพียูเก่าแก่และมีการพัฒนา มาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ซีพียู 8086,8088 และซีพียูในตระกูล 80x86 เรื่อยมารวมทั้งซีพียูบนโครงสร้างสถาปัตยกรรมแบบใหม่อย่าง Nehalem ที่จะมาพร้อมกับแบรนด์ใหม่ในชื่อว่า Core i7ซีพียู Celeron D และ Celeron Dual-Core• Celeron D (Prescott-90 nm)เป็นการนำเอา Pentium 4 (Prescott-90 nm) บนสถาปัตกรรม NetBurst มาลดขนาด L2 Cache ลงจากเดิม 1 MB ให้เหลือเพียง 256 KB ความเร็วสูงสุดปัจจุบันอยู่ที่ 3.33 GHz• Celeron D (Cedar Mill-65 nm)เป็นการนำเอา Pentium 4 (Cedar Mill-65 nm) บนสถาปัตกรรม NetBurst มาลดขนาด L2 Cache ลงจากเดิม 2 MB ให้เหลือเพียง 512 KB • Celeron D (Conroe-L/65 nm)เป็น Celeron D รุ่นแรกบนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture (เช่นเดียวกับ Core 2 Duo) ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 0.065 ไมครอน หรือ 65 nmn Celeron Dual-Core (Allendale-65 nm)เป็น Celeron แบบ Dual-Core บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nmn Celeron Dual-Core (Merom 2M-65 nm) สำหรับ Notebookเป็น Celeron Dual-Core สำหรับ Notebook บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nmชุดคำสั่ง MMX, SSE (Streaming SIMD Extensions), SSE2, SSE3 และ SSE4n MMX เป็นชุดคำสั่ง 57 คำสั่งสำหรับงานมัลติมีเดียที่ถูกเพิ่มเข้ามาในซีพียูส่วน SSE เป็นชุดคำสั่งที่ถูกเพิ่มเข้ามาอีก 70 คำสั่ง จากนั้นก็พัฒนาต่อมาเป็น SSE2 โดยเพิ่มชุดคำสั่งเข้าไปอีก 144 คำสั่ง รวมถึงเทคนิคในการประมวลผลแบบ SIMD (Single Instruction Multiple Data)ผลลัพธ์ก็คือความสามารถในการจัดการกับข้อมูลขนาดใหญ่ให้เสร็จได้ภายในระยะเวลาอันรวดเร็วไป และล่าสุด SSE4 ที่พัฒนามาจากเทคโนโลยี Advanced Digital Media Boost ของ Intel (เพิ่มเติมชุดคำสั่งเข้าไปอีก 47 คำสั่ง)SSE3 ก็ได้เพิ่มเติมชุดคำสั่งพิเศษ PNl (Prescott New Instructions) เข้าไปอีก 13 คำสั่งซีพียู Pentium 4ซีพียูในตระกูล Pentium 4 ได้ถูกเพิ่มเติมเทคโนโลยี Hyper-Threading (HT) เข้าไปเพื่อช่วยให้สามารถประมวลผลเธรดหรือชุดคำสั่งย่อยต่างๆ ไปพร้อมๆ กันได้เสมือนซีพียู 2 ตัวช่วยกันทำงาน ซึ่งทำให้เพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานในแบบ Multitasking หรือการทำงานหลายๆ อย่างพร้อมกันได้ดียิ่งขึ้นIntel Virtualization Technology (VT)n เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้ระบบสามารถจำลองสภาพแวดล้อมเสมือนขึ้นมา เพื่อช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานกับหลายๆ ระบบปฏิบัติการได้พร้อมๆ กัน โดยไม่รบกวนกันเสมือนหนึ่งว่าเป็นคนละเครื่องกันซีพียู Pentium D• นับเป็นก้าวแรกสู่ยุค Dual & Muti-Core ของ Intel โดย Pentium D ถูกออกแบบมา เพื่อการทำงานที่ต้องการใช้การ Multitasking สูงๆ หรือสามารถทำงานกับแอพพลิเคชั่นได้หลายตัวพร้อมกันอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การตัดต่อวีดีโอในระหว่างดาวน์โหลดเพลงไปด้วยและการสร้างงานด้านกราฟิกที่จะต้องใช้โปรแกรมหลายตัวไปพร้อมๆ กันการประมวลผลของซีพียูที่มีโครงสร้างแบบ Dual-Core และ Double-Core· (ซ้าย) Pentium D (Smithfield-0.09 ไมครอน) ซึ่งมีโครงสร้างแบบ Dual-Core จะประมวลผลข้อมูลที่รับเข้ามาและส่งออกไปพร้อมกันจากทั้ง 2 Core· (ขวา) Pentium D (Presler-0.065 ไมครอน) ซึ่งมีโครงสร้างแบบ Double-Core (Die ถูกแยกออกเป็น 2 ส่วน ทำงานอิสระจากกัน) หรือกลุ่มของโครงสร้างแบบ Multi-Chip จะประมวลผลข้อมูลที่รับ เข้ามาและส่งออกไปแบบตัวใครตัวมัน ซึ่งทำให้ประสิทธิภาพของการประมวลผลที่ดีกว่าซีพียู Pentium Dual-CorePentium Dual-Core (Allendale-65 nm)เป็น Dual-Core ภายใต้แบรนด์ Pentium รุ่นแรก บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ที่ใช้กับ Core 2 DuoPentium Dual-Core (Wolfdale 2M-45 nm)เป็น Pentium Dual-Core บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture รุ่นต่อมา โดยการนำ Core 2 Duo (Wolfdale-45 nm) มาปรับลดขนาด L2 Cache ลงเหลือเพียง 2 MB
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น