วันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2552

ส.14 13/09/2009 เรื่อง การติดตั้ง WINDOWS XP

การติดตั้ง WINDOWS XP ตามตัวอย่างต่อไปนี้ใช้ แผ่น XP SERVICE PACK 2 ติดตั้งนะครับ แผ่น WINDOWS XP ที่ไม่ได้ดัดแปลงอะไรอะไรเลย(ก๊อปมาจากแผ่นแท้)ข้อดีคือค่อนข้างสเถียรครับ ใช้งานไปนานๆก็ไม่ค่อยจะมีปัญหาเออเร่ออะไรเริ่มติดตั้งเลยนะครับ1.ก่อนอื่นต้องตั้งบูตจากแผ่นซีดีก่อนนะครับต้องเซตให้คอมคุณบู๊ตจากไดว์ฟ CD ก่อนแต่ละเครื่องไม่เหมือนกันครับ เครื่องรุ่นใหม่ๆอาจะให้กด F8 หรือ F11เพื่อเลือกว่าจะเลือกบู๊ตจากไดว์ฟไหน หากคอมเก่าๆหน่อย ก็ต้องเข้าไบออสไปเซตก่อน การเข้าไบออสนั้นแต่ละเครื่องก็ไม่เหมือนกันอีกส่วนมากจะให้กดปุ่ม delete หรือ F2 ครับ กดตอนก่อนขึ้นโลโก้ windows นะครับแบบว่ากดเปิดเครื่องแล้วพอซัก 2วินาทีแล้วกดเลยครับ ก็จะเข้าหน้าไบออสครับ การเซตแต่ละเครื่องเขียนไม่ไหวครับมีหลายยี่ห้อเหลือเกิน ประมาณว่าเข้าไปหัวข้อ BOOT อะครับ2.เมื่อเซตบูตจากแผ่นแล้ว เมื่อเปิดเครื่องจะมีหน้าจอมีดำบอกเรา ประมาณว่า กดปุ่มใดก็ได้เพื่อบูตจากแผ่น CDก็ให้กด Enter เลยครับ3. ก็จะมีหน้าจอให้เรากด Enter เพื่อยืนยันการติดตั้ง Windows
4.แล้วก็กด F8 เพื่อยอมรับข้อตกลง (ปล.ใครเคยอ่านบ้าง)

5.แล้วก็จะแสดงหน้าว่าคุณมีฮาร์ดดิสอยู่กี่พาดิชั่น หากไม่มีซักพาดิชั่นก็กด C เพื่อสร้างพาดิชั่นครับ
หรือมีอยู่แล้วก็ให้กด D เพื่อลบพาดิชั่นครับ (แล้วค่อยสร้างใหม่)

6.กด Enter เพื่อยันยืนการลบ พาดิชั่น ต้องมั่นใจก่อนนะครับ ว่าเก็บงานของเราในไดว์ฟ C หมดแล้ว เพราะกด Enter ปุ๊บ
ไดว์ฟ C จะถูกล้างใหม่หมดเลยครับ

7.กด L เพื่อยืนยันการลบข้อมูล กด Esc เพื่อกลับไปหน้าที่แล้วเพื่อลงวินโดว์โดยไม่ล้างไดว์ฟ C (ไม่แนะนำครับ)

8.ลบเสร็จแล้วก็จะเห็นว่าไดว์ฟ C หายไปแล้ว ก็กด C ครับ เพื่อสร้างพาดิชั่นขึ้นมาใหม่ครับ

9.แล้วก็ใส่ขนาดไดว์ฟ C ที่เราต้องการครับ ไม่ต้องตามรูปนะครับ ในรูปแค่ 7กิ๊กครับ (หน่วยเป็น MB)

10.ให้เลือกว่าจะฟอแมทเป็นระบบไหนครับ ให้เลือกเป็น ระบบ NTFS นะครับ หากรีบก็ Quick เลยครับ
ข้อแตกต่างระหว่าง ฟอแมท แบบช้า กับแบบเร็ว (Quick)ผมไม่ทราบนะครับ

11.แล้วก็เริ่มฟอแมทครับ

12.เมื่อฟอแมทเสร็จแล้วก็จะเริ่มก๊อปปี้ไฟลลงเครื่องเราครับ

13.แล้วจะขึ้นหน้าให้เราเซตภาษาครับ ให้กด Customize เพื่อเพิ่มภาษาครับ

14.ให้กดแทบ Languages แล้วคลิกถูกทั้งสองชื่องดังรูปครับ แล้วกด Apply

15.แล้วคลิก แทบ Regional Options แล้วเลือกเป็น ภาษา Thai อันล่างก็เซตเป็น ประเทศ Thailand ตามรูปเลยครับ

16.แล้วคลิกแทบ Advanced เลือกเป็น Thai ตามรูปเลยครับ

17.ใส่รายละเอียดตามที่ต้องการเลยครับ

18.ตั้งชื่อคอมของคุณครับ

19.เลือกโซนเวลาครับ เมืองไทยก็ +07 ครับ

20.กำลังติดตั้งระบบNetworkครับ

21.เลือก Typical Settings ครับ

22.ใส่ชื่อ Workgroup ครับ

23.ลงเสร็จแล้วครับ กด Next เลยครับ

24.เลือก Not right now แล้วกด Next เลยครับ

25.เช็คการเชื่อมต่ออินเตอร์เนต ให้กด Skip เพื่อข้ามไปเลยครับ

26.ถามเราว่าจะ register กับไมโครซอฟไหม เลือก No. not at this time แล้วกด Next ครับ

27.ใช่ชื่อของคุณครับ

28.กด Next เลยครับ

29.หากพบหน้านี้ให้เลือกข้อสองนะครับแล้วกด Next แล้วก็กดปิดไปเลยครับ

30.รำคาญเจ้าบอลลูนแจ้งเตือนกันไหมครับ มาจัดการปิดมันดีกว่าครับ

31.วิธีปิดการแจ้งเตือน ให้คลิกที่ Start ----->settings --->Control panel ตามรูปเลยครับ

ไหนๆก็เข้ามาแล้ว เซตกดปุ่ม ~ เพื่อเปลี่ยนภาษาด้วยเลยครับ เข้า Regional and Language Options แล้วเซตตามรูปเลยครับ

32.เอาไอคอนมาแสดงบนเดสท๊อป ให้คลิกขวาบนที่ว่างหน้าจอแล้วเลือก properties แล้วเซตตามรูปเลยครับ

33.ต่อไปเป็นการเซตค่าส่วนตัวนะครับ ทำตามหรือไม่ก็ได้ครับ หากต้องการทำตามก็ให้คลิกขวาที่ My computer แล้วเลือกตามรูปครับ
33.1 ปิด automatic update ซะเพื่อไม่ต้องอัฟเดท (อัฟทำไมเพราะวินโดว์ที่ใช้หนะดีอยู่แล้ว)

33.2 ปิดเอฟเฟคต่างๆเพื่อการใช้งานเร็วขึ้น

33.3 ต่อไปก็ย้าย My documents ไปไว้ในไดว์ฟ D เพื่อที่ว่าเวลาคอมมีปัญหาแล้วจะลงวินโดว์ใหม่ ก็ไม่ต้องเก็บงานอะไรมาก
เพราะงานอยู่ใน My documents ซื่งอยู่ในไดว์ฟ D ไม่หายอยู่แล้ว(นอกเสียจากว่า ฮาร์ดดิสเสียหรือฟอแมททั้งก้อน)

33.4 ปิด system restores ไดว์ฟอื่นๆซะ เปิดแค่ไดว์ฟ C ก็พอ เพื่อให้คอมทำงานได้เร็วขึ้นครับ เพราะไฟล์ระบบจะอยู่ในไดว์ฟ C เท่านั้น
ไดว์ฟอื่นจึงไม่จำเป็นต้องเปิดการใช้งาน restores ครับ

วันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2552

ส.13 06/09/2009 เรื่อง นำเสนองานเรื่องซีพียู


ซีพียู (CPU)• ซีพียู (CPU : Central Processing Unit) หรือหน่วยประมวลผลกลาง เป็นส่วนประกอบหลัก ซึ่งทำหน้าที่ คิด คำนวณ และประมวลผลข้อมูลต่างๆ ทั้งการคำนวณตัวเลขทางด้านคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operation) บวก ลบ คูณ หาร หรือการคำนวณเชิงเปรียบเทียบข้อมูลทางด้านตรรกศาสตร์ (Logical Operation) มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ เมื่อคอมพิวเตอร์มีการรับข้อมูลใดๆ เข้ามาจัดเก็บ หรือพักไว้ในหน่วยความจำแล้วก็จะถูกส่งต่อให้ซีพียูประมวลผลก่อนเสมอความเร็วของซีพียูØ ตารางเรียกหน่วยวัด (คูณ) Ø Kilo K x1 milli Ø Mega M x1,000,000 micro Ø Giga G x1,000,000,000 Ø Tera T x1,000,000,000,000Ø ตารางเรียกหน่วยวัด (หาร)Ø m 1/1000Ø µ 1/1000,000Ø nano n 1/1000,000,000Ø pico p 1/1,000,000,000,000ความเร็ว Front Side Bus (FSB)• ความเร็วของสัญญาณนาฬิกาที่ให้จังหวะในการทำงานแต่ FSB หากแต่เป็นความเร็วสุทธิ (effective bus speed) ที่เป็นผลมาจากการรับส่งข้อมูลมากกว่า 1 ครั้ง• ในขณะที่ซีพียูของ Intel จะใช้ความเร็ว FSB ประกอบกับเทคนิคที่เรียกว่า Quad-Pumped เพื่อช่วยให้สามารถรับส่งข้อมูลได้มากถึง 4 ครั้งในแต่ละลูกคลื่น• ซีพียูของ AMD จะใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลความเร็วสูงแบบ Hyper Transport ควบคู่ไปกับการทำงานของส่วนควบคุมหน่วยความจำ (Integrated Memory Controller) ภายในซีพียู เข้ามาทำงานแทน FSB พร้อมๆ ไปกับการใช้เทคนิคที่เรียกว่า Double Data Rate (DDR)• ปัจจุบันความเร็ว FSB จะอยู่ที่ 133 ถึง 400 MHz ขึ้นกับซีพียูและชิปเซ็ตที่ใช้ แต่บางครั้งอาจมีการบอกเป็นความเร็ว FSB ที่สูงกว่านี้ เช่น 667, 800, 1066, 1333 และ 1600 MHzระบบบัส HyperTransport มาตรฐาน 1.x, 2.0, 3.0 และ 3.1o · HyperTransport 1.x (1.0x และ 1.1) เป็นมาตรฐานในยุคแรก ซึ่งสนับสนุนความเร็วสูงสุดที่ 800 MHz (ความเร็วสุทธิ 1600 MHz DDR)o · HyperTransport 2.0 เป็นมาตรฐานในยุคต่อมา ซึ่งสนับสนุนความเร็วที่ 1.0, 1.2 และ 1.4 GHz ที่ความเร็วสูงสุด 1.4 GHz (ความเร็วสุทธิ 2.8 GHz DDR) o · HyperTransport 3.1 เป็นมาตรฐานล่าสุด ซึ่งสนับสนุนความเร็วที่ 2.8, 3.0, และ 3.2 GHz ที่ความเร็วสูงสุด 3.2 GHz (ความเร็วสุทธิ 6.4 GHz DDR) o · HyperTransport 3.0 เป็นมาตรฐานที่ใช้กันแพร่หลายในซีพียู AMD ซึ่งสนับสนุนความเร็วที่ 1.8, 2.0, 2.4 และ 2.6 GHz ที่ความเร็วสูงสุด 2.6 GHz (ความเร็วสุทธิ 5.2 GHz DDR)หน่วยความจำแคช (Cache Memory)l หน่วยความจำแคช (Cache Memory) จะทำหน้าที่เสมือนเป็นกระดาษช่วยจำคอยจดบันทึกข้อมูลหรือคำสั่งต่างๆ ที่ซีพียูมักมีการเรียกใช้งานซ้ำๆ บ่อยๆ ไว้ชั่วคราว เพื่อช่วยลดภาระในการติดต่อหรือเข้าถึงข้อมูลภายในแรม (RAM)l · L1 Cache ตำแหน่งจะอยู่ชิดติดกับหน่วยประมวลผลภายในซีพียู และมีความเร็วในการทำงานเทียบเท่าซีพียู มีขนาดตั้งแต่ 8 KB ไปจนถึง 128 KB l · L2 Cache ตำแหน่งจะอยู่ถัดออกมาจาก L1 ใช้เก็บข้อมูลรองจาก L1 โดยถ้าซีพียูเรียกหาl มีขนาดความจุที่ใหญ่กว่า คือ ขนาดตั้งแต่ 64 KB ไปจนถึง 8 MB เลยทีเดียวซีพียู Pentium Extreme Editionu เป็น Dual-Core ภายใต้แบรนด์ Pentium ในตระกูล Extreme Edition ที่ถูกออกแบบมาสำหรับคอมพิวเตอร์ระดับ Hi-End สมรรถนะสูง เหมาะกับการสร้างสรรค์สื่อบันเทิงต่างๆอย่างเต็มรูปแบบ ทั้งการประมวลผลภาพวิดีโอ และระบบเสียงแบบ High Definition ทั้งงานด้านออกแบบและเกมส์ต่างๆ โดยเป็นผมมาจากการทำงานร่วมกันระหว่างสถาปัตยกรรมแบบ Dual-Core กับเทคโนโลยี Hyper-Threading ที่ช่วยให้สามารถประมวลผลได้ถึงคราวละ 4 Threads ในเวลาเดียวกันซีพียู Core 2n Core 2 Duo (Allendale-65 nm)เป็น Dual-Core สำหรับ Core 2 บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number E4xxx ความเร็วสูงสุด 2.6 GHzn Core 2 Duo (Conroe-65 nm)เป็น Dual-Core สำหรับ Core ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number E6xxx ความเร็วสูงสุด 3.0 GHzn Core 2 Duo (Wolfdale 3M-45 nm)เป็น Dual-Core (Wolfdale 45 nm) ที่ได้ปรับลดขนาด L2 Cache ลงเหลือเพียง 3 MB (แต่ละคอร์ใช้งานร่วมกัน) ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 45 nm ใช้รหัส Processor Number E7xxx ความเร็วสูงสุด 2.8 GHzCore 2 Duo (Wolfdale 45 nm)เป็น Dual-Core ที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 45 nm ใช้รหัส Processor Number E8xxx ความเร็วสูงสุด 3.3 GHz ในรุ่น E8600ใช้ FSB 1333 MHz มี L2 Cache ขนาด 6 MB (แต่ละคอร์ใช้งานร่วมกัน)Core 2 Extreme (Dual-Core)เป็น Core 2 Extreme บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number X6xxx ความเร็ว 2.93 GHzCore 2 Quad (Kentsfield -65 nm)เป็น Core - Quad (ภายในเสมือนมีซีพียู Core 2 Duoรหัส Conroe อยู่ 2 ตัว รวมเป็น 4 คอร์)ในตระกูล Core 2 บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number Q6xxx ความเร็ว 2.66 GHzCore 2 Duo (Wolfdale 45 nm)เป็น Dual-Core ที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 45 nm ใช้รหัส Processor Number E8xxx ความเร็วสูงสุด 3.3 GHz ในรุ่น E8600ใช้ FSB 1333 MHz มี L2 Cache ขนาด 6 MB (แต่ละคอร์ใช้งานร่วมกัน)Core 2 Extreme (Dual-Core)เป็น Core 2 Extreme บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number X6xxx ความเร็ว 2.93 GHzCore 2 Quad (Kentsfield -65 nm)เป็น Core - Quad (ภายในเสมือนมีซีพียู Core 2 Duoรหัส Conroe อยู่ 2 ตัว รวมเป็น 4 คอร์)ในตระกูล Core 2 บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number Q6xxx ความเร็ว 2.66 GHzบรรจุภัณฑ์ (Packaging) และฐานรอง (Socket)u แบบ BGA (Ball Grid Array)บรรจุภัณฑ์แบบมีจะมีลักษณะเป็นแผ่นแบนๆที่ด้านหนึ่งจะมีวัสดุทรงกลมนำไฟฟ้าขนาดเล็กเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบทำหน้าที่เป็นขาของชิปu แบบตลับ (Cartridge)บรรจุภัณฑ์แบบนี้เรียกกันโดยทั่วไปว่า SECC (Single Edge Connector Cartridge) มักถูกนำไปใช้กับซีพียูรุ่นเก่า โดยใช้เสียบลงบนสล็อตบนเมนบอร์ดu แบบPGA (Pin Grid Array) บรรจุภัณฑ์แบบนี้เป็นที่นิยมใช้กันมานานแล้ว และได้ถูกแบ่งออกเป็นชนิดต่างๆมากมาย เช่น PPGA OmPGAและ FC-PGAu แบบ LGA (Land Grid Array)เป็นบรรจุภัณฑ์ล่าสุดที่ Intel นำมาใช้กับซีพียูใหม่ๆทุกรุ่นรวมถึงรุ่นใหญ่ของ AMD อย่าง Athlon 64 Quad FX, Phenom FX และ Opteronเทคโนโลยี High-K ในกระบวนการผลิตซีพียูในกระบวนการผลิต 45nm ของซีพียู Intel เป็นการปฏิวัติโครงสร้างภายในสารกึ่งตัวนำที่ใช้ทำทรานซิสเตอร์เสียใหม่ จากเดิมที่ใช้ Polysilicon Gate (NMOS + PMOS) มาเป็น Metal Gate และเปลี่ยน Dielectrics Gate มาเป็น High-K Gate Oxide ที่ใช้ Hafnium เป็นวัสดุ ซึ่งมีค่าคงไดอิเล็กตริกสัมพัทธ์ที่สูง ช่วยให้สามารถลดการรั่วไหลของอิเล็กตรอนได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังช่วยลดการใช้พลังงานลงได้มากซีพียู Intelอินเทล (Intel Corporation) เป็นบริษัทผู้ผลิตซีพียูเก่าแก่และมีการพัฒนา มาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ซีพียู 8086,8088 และซีพียูในตระกูล 80x86 เรื่อยมารวมทั้งซีพียูบนโครงสร้างสถาปัตยกรรมแบบใหม่อย่าง Nehalem ที่จะมาพร้อมกับแบรนด์ใหม่ในชื่อว่า Core i7ซีพียู Celeron D และ Celeron Dual-Core• Celeron D (Prescott-90 nm)เป็นการนำเอา Pentium 4 (Prescott-90 nm) บนสถาปัตกรรม NetBurst มาลดขนาด L2 Cache ลงจากเดิม 1 MB ให้เหลือเพียง 256 KB ความเร็วสูงสุดปัจจุบันอยู่ที่ 3.33 GHz• Celeron D (Cedar Mill-65 nm)เป็นการนำเอา Pentium 4 (Cedar Mill-65 nm) บนสถาปัตกรรม NetBurst มาลดขนาด L2 Cache ลงจากเดิม 2 MB ให้เหลือเพียง 512 KB • Celeron D (Conroe-L/65 nm)เป็น Celeron D รุ่นแรกบนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture (เช่นเดียวกับ Core 2 Duo) ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 0.065 ไมครอน หรือ 65 nmn Celeron Dual-Core (Allendale-65 nm)เป็น Celeron แบบ Dual-Core บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nmn Celeron Dual-Core (Merom 2M-65 nm) สำหรับ Notebookเป็น Celeron Dual-Core สำหรับ Notebook บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nmชุดคำสั่ง MMX, SSE (Streaming SIMD Extensions), SSE2, SSE3 และ SSE4n MMX เป็นชุดคำสั่ง 57 คำสั่งสำหรับงานมัลติมีเดียที่ถูกเพิ่มเข้ามาในซีพียูส่วน SSE เป็นชุดคำสั่งที่ถูกเพิ่มเข้ามาอีก 70 คำสั่ง จากนั้นก็พัฒนาต่อมาเป็น SSE2 โดยเพิ่มชุดคำสั่งเข้าไปอีก 144 คำสั่ง รวมถึงเทคนิคในการประมวลผลแบบ SIMD (Single Instruction Multiple Data)ผลลัพธ์ก็คือความสามารถในการจัดการกับข้อมูลขนาดใหญ่ให้เสร็จได้ภายในระยะเวลาอันรวดเร็วไป และล่าสุด SSE4 ที่พัฒนามาจากเทคโนโลยี Advanced Digital Media Boost ของ Intel (เพิ่มเติมชุดคำสั่งเข้าไปอีก 47 คำสั่ง)SSE3 ก็ได้เพิ่มเติมชุดคำสั่งพิเศษ PNl (Prescott New Instructions) เข้าไปอีก 13 คำสั่งซีพียู Pentium 4ซีพียูในตระกูล Pentium 4 ได้ถูกเพิ่มเติมเทคโนโลยี Hyper-Threading (HT) เข้าไปเพื่อช่วยให้สามารถประมวลผลเธรดหรือชุดคำสั่งย่อยต่างๆ ไปพร้อมๆ กันได้เสมือนซีพียู 2 ตัวช่วยกันทำงาน ซึ่งทำให้เพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานในแบบ Multitasking หรือการทำงานหลายๆ อย่างพร้อมกันได้ดียิ่งขึ้นIntel Virtualization Technology (VT)n เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้ระบบสามารถจำลองสภาพแวดล้อมเสมือนขึ้นมา เพื่อช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานกับหลายๆ ระบบปฏิบัติการได้พร้อมๆ กัน โดยไม่รบกวนกันเสมือนหนึ่งว่าเป็นคนละเครื่องกันซีพียู Pentium D• นับเป็นก้าวแรกสู่ยุค Dual & Muti-Core ของ Intel โดย Pentium D ถูกออกแบบมา เพื่อการทำงานที่ต้องการใช้การ Multitasking สูงๆ หรือสามารถทำงานกับแอพพลิเคชั่นได้หลายตัวพร้อมกันอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การตัดต่อวีดีโอในระหว่างดาวน์โหลดเพลงไปด้วยและการสร้างงานด้านกราฟิกที่จะต้องใช้โปรแกรมหลายตัวไปพร้อมๆ กันการประมวลผลของซีพียูที่มีโครงสร้างแบบ Dual-Core และ Double-Core· (ซ้าย) Pentium D (Smithfield-0.09 ไมครอน) ซึ่งมีโครงสร้างแบบ Dual-Core จะประมวลผลข้อมูลที่รับเข้ามาและส่งออกไปพร้อมกันจากทั้ง 2 Core· (ขวา) Pentium D (Presler-0.065 ไมครอน) ซึ่งมีโครงสร้างแบบ Double-Core (Die ถูกแยกออกเป็น 2 ส่วน ทำงานอิสระจากกัน) หรือกลุ่มของโครงสร้างแบบ Multi-Chip จะประมวลผลข้อมูลที่รับ เข้ามาและส่งออกไปแบบตัวใครตัวมัน ซึ่งทำให้ประสิทธิภาพของการประมวลผลที่ดีกว่าซีพียู Pentium Dual-CorePentium Dual-Core (Allendale-65 nm)เป็น Dual-Core ภายใต้แบรนด์ Pentium รุ่นแรก บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ที่ใช้กับ Core 2 DuoPentium Dual-Core (Wolfdale 2M-45 nm)เป็น Pentium Dual-Core บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture รุ่นต่อมา โดยการนำ Core 2 Duo (Wolfdale-45 nm) มาปรับลดขนาด L2 Cache ลงเหลือเพียง 2 MB